NỘI DUNG BÀI VIẾT
พบฝูงโลมากว่า 20 ตัว จ.ภูเก็ต
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
18 พ.ค.l ข่าวค่ำ นักอนุรักษ์ที่จังหวัดภูเก็ตตื่นเต้นกับการกลับมาอีกครั้ง ของโลมาปากขวดฝูงใหญ่ที่หายไปนานกว่า 10 ปี ThaiPBSnews โลมาปากขวด ภูเก็ต
โชว์ปลาโลมา Dolphin Show @ Safari World ( 19-07-2558)
จำหน่ายโดรนติดกล้อง DJI พร้อมสอนบินฟรี
DJI PHANTOM 3 , PHANTOM 4 , PHANTOM 4 PRO , INSPIRE 1 , INSPIRE 2 , MAVIC PRO , OSMO + , OSMO MOBILE , RONIN M
โทร : 0954917473 , 020419934
ID LINE : phantomthai
www.phantomthai.com
ฮือฮา โลมาสีชมพู | 17-03-60 | ข่าวเช้าสดใส
โลมาสีชมพู ว่ายน้ำข้างเรือตรวจการณ์ของตำรวจน้ำ ขณะจอดเทียบท่า บริเวณศูนย์บริหารจัดการประมงทะเลฝั่งอันดามันจังหวัดกระบี่
ติดตามเราได้ที่
Website : http://www.thairath.tv
Facebook : https://www.facebook.com/thairathtv
Twitter : https://twitter.com/Thairath_TV
Instagram : https://instagram.com/thairathtv
Youtube Channel : https://www.youtube.com/channel/UCrFDdDEE05N7gjwZho2wqw
โลมาปากขวด ปลอดภัย จนท.ปล่อยคืนสู่ธรรมชาติกลางท้องทะเลตราด
ทีมสัตว์แพทย์ ทช.ที่ 1 พร้อม ศรชล.ตราด และเจ้าหน้าที่ทช.ตราด นำโลมาปากขวดปล่อยลงทะเลหน้าทะเลเกาะช้าง อย่างปลอดภัย หลังหลงทางเข้าแม่น้ำเขาสมิงห่างจากปากแม่น้ำตราดเกือบ 20 กิโลเมตร
ตราด โลมา ช่วยโลมา
โซนาร์ของโลมาปากขวด แรงบันดาลใจให้เทคโนโลยีล่าสุด
โซนาร์ของโลมาปากขวด แรงบันดาลใจให้เทคโนโลยีล่าสุด\r
EDINBURGH, SCOTLAND — นักวิจัยจากโรงเรียนวิศวกรรมและวิทยาศาสตร์กายภาพ HeriotWatt ได้แรงบันดาลใจจากโซนาร์ตามธรรมชาติของโลมาปากขวด ในการพัฒนาเทคโนโลยีที่จะช่วยให้การสำรวจมหาสมุทรมีประสิทธิภาพมากขึ้น\r
\r
\r
“โลมาปากขวดมีโซนาร์ที่ทันสมัยที่สุด อันเป็นผลมาจากหลายล้านปีของวิวัฒนาการ” ดร. คีธ บราวน์ กล่าวกับรอยเตอร์ “พวกมันชนะเทคโนโลยีโซลูชั่นทั้งหมดที่เรามี”\r
\r
ปัจจุบันเทคโนโลยีโซนาร์แบบที่ใช้โดยกองทัพเรือสหรัฐฯ สามารถแสดงภาพร่างของวัตถุในมหาสมุทร แต่นักวิจัยที่มหาวิทยาลัยพรอ้มกับบริษัทไฮเทคโซนาร์และระบบใต้น้ำ ระบบใต้น้ำ Hydrason Solutions และ CENSIS ศูนย์นวัตกรรมเซ็นเซอร์และการถ่ายภาพสัญชาติสก็อต ได้พัฒนาเทคโนโลยีที่คล้ายกับของโลมา\r
\r
นักวิจัยได้พัฒนาเซ็นเซอร์ต้นแบบที่ใช้ความถี่และโครงสร้างเสียงแบบปลาโลมา\r
\r
\r
โลมาไม่เพียงแค่สามารถตรวจจับวัตถุใต้น้ำได้อย่างแม่นยำมาก พวกมันยังสามารถระบุวัสดุที่แตกต่างกัน เทคโนโลยีใหม่นี้จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถทำเช่นเดียวกันโดยไม่ได้ต้องเข้าไปสัมผัสโดยตรง\r
\r
\r
เซ็นเซอร์นี้อาจเป็นประโยชน์ต่อการวางท่อใต้น้ำ โดยช่วยให้ผู้เชี่ยวชาญสามารถหาสิ่งอุดตันและคาดการณ์ลักษณะของรอยแตก และยังสามารถช่วยให้นักนิเวศวิทยาติดตามสุขภาพของสภาพแวดล้อมทางทะเลและแผนที่ก้นทะเลได้อีกด้วย
\r
\r
ยินดีต้อนรับสู่ TomoNewsThailand ทีมงานโทโมเป็นผู้สร้างข่าวแบบอนิเมชั่นที่ครอบคลุมหัวข้อข่าวหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ปัจจุบัน, ข่าวโลก, ข่าวกีฬา, ข่าวบันเทิง และเทคโนโลยี ขณะนี้ทีมงานข่าวโทโมพร้อมที่จะนำเสนอรูปแบบใหม่ของการชมข่าวให้กับแฟนๆชาวไทยแล้ว อย่าลืมสมัครเป็นสมาชิกช่องข่าวโทโมด้วยนะค้า ว่าแต่วันนี้คุณดูข่าวโทโมรึยังเอ่ย${‘\
‘}${‘\
‘}ข่าวสนุกสไตล์ข่าวโทโมไทย: https://www.youtube.com/c/TomoNewsTH\r
\r
หรือติดตามชมเราที่:\r
Facebook https://www.facebook.com/tomonewsth\r
Twitter @TomoNewsTH https://twitter.com/TomonewsTH\r
Google+ https://plus.google.com/+TomoNewsTH/
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆStudy