NỘI DUNG BÀI VIẾT
biomolecular therapy center กลุ่มอาการออทิสติก
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
แนวทางการรักษาด้วยชีวโมเลกุล ให้กับน้องจิ๊บ พิจิตรา สินเสมอสุข ผู้ป่วยกลุ่มอาการออทิสติก และระบบเมทาบอลึซึมผิดปกติ, ออกอากาศทาง ททบ.5 วันเสาร์ที่ 14 มิย 2557 เวลา 7.00 น.
ผลิตโดย ศูนย์การแพทย์ชีวโมเลกุล แห่งเอเชียแปซิฟิก ถ.พระราม 2 ซ.พุทธบูชา 5 กรุงเทพโทร 0287409804, 0865096666, 0863868822, 092247112029 www.biotherapycenter.com
Miracle Kids ภาวะ \”ออทิสติก\” เกิดจากสาเหตุอะไร? ช่วงที่3 13/08/2017
Miracle Kids ภาวะ \”ออทิสติก\” เกิดจากสาเหตุอะไร? ช่วงที่3 13/08/2017
Official Website : http://www.manager.co.th
https://www.facebook.com/MGRonlineLive
https://www.facebook.com/MGRNEWS1
“โรคออทิสติก” ความผิดปกติด้านพัฒนาการทางสมอง : พบหมอรามา ช่วง Rama Update 26 ก.ค.60 (1/5)
Rama Update
“โรคออทิสติก” โรคที่มีความผิดปกติด้านพัฒนาการทางสมอง
จากกรณีข่าว เร่งวิจัย “ยีน” ต้นเหตุโรคออทิสติก คาดเด็กไทยป่วย 3 แสนคน
รศ.นพ.พรเทพ ตั่นเผ่าพงษ์
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
ติดตามรายการได้ทุกวันจันทร์ศุกร์
ออกอากาศสดผ่าน Facebook Fanpage เวลา 12.00 13.00 น.
โดยคุณผู้ชมสามารถรับชมรามาแชนแนลได้ที่ช่อง True Visions 42 หรือ
ทางเว็บไซต์ www.ramachannel.tv และ www.youtube.com/ramachanneltv
ออกอากาศวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ.2560
ออทิสติกเทียมดีขึ้นได้ ถ้าเข้าใจ EF
เลี้ยงลูกวัยก่อน2ขวบด้วยมือถือ ทักษะสมองถูกทำลาย
ก่อนปล่อยให้เด็กอยู่กับหน้าจอมือถือเป็นเวลานานๆ เด็กอาจจะนิ่ง ไม่ซุกซนได้จริง แต่จะขาดพัฒนาการอย่างสิ้นเชิง เพราะภาพและเสียงที่จับต้องไม่ได้ในจอแบน 2 มิติ ไม่มีขนาด ไม่รู้ตำแหน่งที่มา ไม่ต่อเนื่อง กระโดดข้ามเวลา เชื่อมโยงกลับมาสู่ประสบการณ์จริงไม่ได้ เด็กๆ จึงสับสน ทักษะในการเรียนรู้จึงบกพร่อง พัฒนาการของเซลล์สมองจึงชะงักงัน
เช่นเดียวกับน้องมิวสิคที่มีพฤติกรรมที่แตกต่างจากเพื่อนร่วมวัย ขณะที่เพื่อนๆ ร่วมกิจกรรมกลุ่มที่ครูจัดให้ น้องมิวสิคมักจะแยกตัวออกมาเดินสำรวจไปรอบๆ แบบไร้จุดหมาย หรือซุกหลบอยู่ในมุมประจำที่จำกัด ไม่พูดคุย ไม่สบตา ไม่มีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้าง นี่คือ อาการที่บ่งบอกถึงโรคสมาธิสั้น หรือออทิสติกเทียม…
ในฐานะสมาชิกภาคีเครือข่าย Thailand EF Partnership กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย ได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาทักษะสมอง EF ในเด็กปฐมวัย ให้กับครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดห้วยโป่ง คณะครูได้นำความรู้เรื่อง EF มาปรับใช้ สร้างสรรค์กิจกรรมดี ๆ เข้าสู่ชั้นเรียน มุ่งพัฒนาทักษะสมอง EF ของเด็ก ๆ รวมถึงน้องมิวสิคด้วย คุณครูยังให้ความรู้และคำแนะนำกับคุณแม่ของน้องมิวสิค เพื่อให้เกิดการพัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน
คณะครูได้มีการจัดสภาพแวดล้อมและกิจกรรมที่ให้อิสระ เด็กได้ทำในสิ่งที่ชอบ สนุก ทำให้เด็กได้จดจ่อกับสิ่งที่อยู่ตรงหน้า ช่วยเพิ่มช่วงความสนใจของเด็กให้ยาวขึ้น และลดภาวะสมาธิสั้น
ความมหัศจรรย์ของสมอง ในการกำกับและควบคุมตนเอง หรือทักษะสมอง EF เป็นศักยภาพของเด็ก ๆ ที่เกิดขึ้นได้สูงสุด ในช่วงปฐมวัย ที่ผู้ใหญ่สามารถสร้างเสริมได้ ด้วยการสร้างสภาพแวดล้อมและกิจกรรมที่เหมาะสม เพียง 6 เดือนผ่านไป พฤติกรรมการเรียนรู้ของน้องมิวสิคก็ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
ขอขอบคุณ
บริษัทดาว ประเทศไทย ภาคีเครือข่ายพื้นที่ต้นแบบ EF จังหวัดจังหวัดระยอง
ครูถาวร ถิ่นถาวร
ครูพรเพ็ญ ประดิษฐ์
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดห้วยโป่ง
แม่อ้อน กนกกาญจน์ ถ้ำคู่ และน้องมิวสิค
และภาคีเครือข่าย Thailand EF Partnership ทุกหน่วยงาน
สื่อชุด “พลังสมองเด็กไทย สร้างได้ด้วยพลังชุมชน”
โครงการผลิตสื่อเพื่อส่งเสริมความเข้าใจถึงแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในการพัฒนาเด็กและเยาวชน ด้วยพลังชุมชน
สนับสนุนโดย กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
สร้างสรรค์โดย สถาบัน RLG (รักลูก เลิร์นนิ่ง กรุ๊ป)
Creative \u0026 Producer: ธนรร หาญวรโยธิน
ควบคุมการผลิต : ชยธร มายอด
กดไลค์ กดแชร์ กดกระดิ่งติดตาม
www.youtube.com / พัฒนาทักษะสมอง EF
www.rlgef.com
รับมือลูกออทิสติก ลูกสมาธิสั้นอย่างไรเมื่อลูกกำลังโกรธ
เลี้ยงลูกออทิสติก ลูกสมาธิสั้น: รับมืออย่างไรเมื่อลูกกำลังโกรธหรือมีอารมณ์รุนแรง
โดยทั่วไปอาจมีความเข้าใจผิดว่าลูกที่มีอาการออทิสซึมหรือสมาธิสั้นต้องมีอารมณ์รุนแรง ซึ่งไม่จริงเสมอไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสาเหตุหรือปัจจัยหลายอย่าง เช่น
ลูกมีพื้นฐานทางอารมณ์แบบใด เช่น เป็นเด็กหงุดหงิดง่ายหรืออารมณ์แจ่มใสดี
ลูกมีข้อจำกัดเรื่องภาษาและการสื่อสาร ลูกจึงสื่อความต้องการได้ไม่ดีพอ
ลูกมีข้อจำกัดเรื่องการแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
ลูกมีประสาทสัมผัสไวจึงรู้สึกสับสนและอารมณ์ถูกรบกวนได้ง่าย
ลูกมีสารเคมีในสมองไม่สมดุล
ลูกมีปัจจัยการทานอาหารกระตุ้น
ลูกมีลักษณะติดรูปแบบจึงขาดความยืดหยุ่น เช่น ลูกออทิสติก
ไม่ว่าลูกจะมีอารมณ์รุนแรงเพราะสาเหตุใด สิ่งที่ครูนิ่มแนะนำให้ทำคือ
1. เราต้องไม่ปล่อยผ่านให้ปัญหานี้มีแนวโน้มแย่ลงจนขัดขวางการดำรงชีวิตและการเรียนรู้ใหม่ ๆ และ
2. เราต้องค่อย ๆ นำทางให้ลูกไปในทิศทางที่ดีให้ได้ (ควรทำก่อนวัย 4 ขวบ) เพื่อลูกค่อย ๆ มีอารมณ์และพัฒนาการที่ดีและก้าวหน้ามากขึ้นตามลำดับ
มาติดตามชม Clip นี้เพื่อรู้สาเหตุเบื้องต้นที่อาจทำให้ลูกออทิสติก ลูกสมาธิสั้นมีความหงุดหงิด ตลอดจนได้แนวทางการรับมือลูก ๆ ที่มีอารมณ์รุนแรงกันนะคะ
อย่าลืมช่วยกันกด Like กด Share และกด Subscribe YouTube Channel ของ Classroom by Baan Aun Rak ด้วยนะคะ เพื่อจะได้ไม่พลาดข้อมูลและ Clips ความรู้เพิ่มเติมที่เราพร้อมแบ่งปัน
ติดตามเราเพิ่มเติมได้ที่: Line / Facebook / Facebook Page / YouTube / Website ตาม Links ข้างล่างนี้
Add line:
https://timeline.line.me/post/_deexij9YMsC1_H31ASWkHJ6lyW4jiZnRqwE7NU/1153043948907069865
Facebook: Baan Aun Rak ศูนย์กระตุ้นพัฒนาการ บ้านอุ่นรัก
https://www.facebook.com/255269831707213
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆStudy